ufabet369.net

ตลาดน้ำมันบริโภคทั่วโลกเดือดหลังอินโดนีเซียประกาศห้ามส่งออก

การห้ามส่งออกน้ำมันปาล์มของอินโดนีเซียสร้างความตระหนักให้แก่ตลาดน้ำมัน

ส้าหรับการบริโภคทั่วโลกซึ่งแตะระดับสูงสุดเป็นประวัติการณ์ในปีนี และจุดชนวนให้เกิดความตื่นตระหนกในหมู่ผู้น้าเข้าวัตถุดิบ ปรุงอาหารรายใหญ่ น ้ามันปาล์มเป็นน้ำมันพืชที่ใช้กันอย่างแพร่หลายมากที่สุดในโลก และใช้ในการผลิตผลิตภัณฑ์หลาย ประเภท เช่น บิสกิต มาการีน น้ำยาซักผ้า และช็อกโกแลต รายการด้านล่างนี คือรายละเอียดเกี่ยวกับน ้ามันบริโภคที่ส้าคัญของโลก ประกอบด้วยน้ำมันปาล์ม เพื่อการบริโภคที่มีการผลิตบริโภค

และซื้อขายมากที่สุดในโลก โดยคิดเป็น สัดส่วนประมาณร้อยละ 40 ของน้ำมันพืชที่ได้รับความนิยมสูงสุด ๔ อันดับแรก ได้แก่ น้ำมันปาล์ม น้ำมันถั่วเหลือง น้ำมันเรพซีด (คาโนลา) และน้ำมันเมล็ดดอกทานตะวัน กระทรวงเกษตรของสหรัฐอเมริกา (the US Department of Agriculture – USDA) คาดการณ์ว่า จะมีการผลิตน้ำมันปาล์มประมาณ 77 ล้านตันในปีนี โดยอินโดนีเซียเป็นผู้ผลิต-ส่งออก และบริโภคน้ำมันปาล์ม รายใหญ่ที่สุดในโลก คิดเป็นสัดส่วนประมาณร้อยละ 60 ของอุปทานทั้งหมด มาเลเซียเป็นผู้ผลิตรายใหญ่เป็น อันดับสอง โดยมีส่วนแบ่งอุปทานทั่วโลกประมาณร้อยละ 25 อินเดียเป็นผู้น้าเข้าน้ำมันปาล์มรายใหญ่ ในขณะที่จีน ปากีสถาน บังคลาเทศ อียิปต์ และเคนยาเป็น ผู้ซื้อรายใหญ่รายอื่น ๆ จากรายงานของ USDA นั้น ในปีปกติอินเดียบริโภคน้ำมันปาล์มคิดเป็นร้อยละ 40 ของ การบริโภคน้ำมันพืชทั้งหมด มีการคาดการณ์ว่าการน้าเข้าในปีนี จะลดลง เนื่องจากนโยบายการค้าที่เข้มงวด ของอินโดนีเซีย รวมทั งราคาน้ำมันสำหรับการบริโภคที่สูงรวมถึงปัจจัยอื่น ๆ

ufabet369.net

การผลิตน้ำมันปาล์มทั่วโลกลดลงในปี 2563 และ 2564 เนื่องจากแรงงานอพยพ

ในพื้นที่เพาะปลูกลดลงทั่วเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ส่งผลให้การเก็บทะลายปาล์มลดลงและการใส่ปุ๋ยให้ต้นปาล์มน้อยลงก่อนหน้านี ทางการอินโดนีเซียได้จ้ากัดการส่งออกน้ำมันพืชในช่วงปลายเดือนมกราคมถึงกลางเดือน มีนาคม เพื่อพยายามควบคุมราคาน้ำมันส้าหรับประกอบอาหารในประเทศน้ำมันถั่วเหลืองเป็นน้ำมันพืชที่มีการผลิตมากเป็นอันดับสอง ในปีนี คาดว่าจะผลิตไดประมาณ 59 ล้านตันโดยจีนเป็นผู้ผลิตรายใหญ่ที่สุด รองลงมาคือสหรัฐอเมริกา บราซิล และอาร์เจนตินา เนื่องจากความกังวลเกี่ยวกับการตัดสินใจของอินโดนีเซียที่ห้ามการส่งออกน้ำมันปาล์มอย่างเข้มงวดในปัจจุบัน

ท้าให้ราคาน้ำมันถั่วเหลืองพุ่งขึ้นสูงสุดเป็นประวัติการณ์อาร์เจนตินาเป็นผู้ส่งออกน้ำมันถั่วเหลืองรายใหญ่ที่สุด แต่คาดว่าจะจัดส่งน้ำมันได้ลดลงในปีนี หลังสิ้นสุดฤดูกาลเพาะปลูกถั่วเหลืองที่ประสบปัญหาภัยแล้งอย่างย่้าแย่ ประเทศได้ประกาศระงับการส่งออกถั่วเหลืองและผลิตภัณฑ์ในช่วงกลางเดือนมีนาคม ก่อนปรับขึ้นอัตราภาษีส่งออกน้ำมันถั่วเหลืองและอาหารจากร้อยละ 31 เป็นร้อยละ 33 เพื่อลดอัตราเงินเฟ้อของอาหารในประเทศ ตามรายงานของ USDA บราซิลและสหรัฐอเมริกาเป็นผู้ส่งออกน้ำมันถั่วเหลืองรายใหญ่อันดับสองของโลก

โดยคาดว่าสหรัฐอเมริกาจะเปิดโรงงานบดถั่วเหลืองเพิ่มเติมในอีกไม่กี่ปีข้างหน้า เนื่องจากมีความต้องการใช้น้ำมันในเชื้อเพลิงชีวภาพอย่างมาก แต่ความสามารถในการเพิ่มความต้องการในระยะสั้นนั้นมีจ้ากัด ทั้งนี อินเดียเป็นผู้น้าเข้าน้ำมันถั่วเหลืองรายใหญ่ที่สุดน้ำมันเรพซีดหรือน้ำมันคำโนลำ USDA คาดการณ์ว่าในปีนี จะมีการผลิตน้ำมันเรพซีดประมาณ 29 ล้านตัน ส่วนใหญ่ผลิตอยู่ในยุโรป แคนาดา และจีน ทั้งนี จีนและสหรัฐอเมริกาเป็นผู้น้าเข้าสูงสุด ในปี 2568 ความแห้งแล้งส่งผลกระทบต่อการเก็บเกี่ยวคาโนลาซึ่งเป็นเรพซีดชนิดหนึ่งของแคนาดา และยุโรปก็ประสบปัญหาพืชผลเสียหายเช่นกัน ท้าให้อุปทานน้ำมันลดลง

ในปี 2565 สมาคมผู้ผลิตน้ำมันเมล็ดพืชแห่งแคนาดา ระบุว่า เมื่อปีที่แล้ว แคนาดาส่งออกน้ำมันคาโนลาเพื่อใช้ ในการท้าอาหารและเชื อเพลิงประมาณร้อยละ 75 โดยสหรัฐอเมริกาครองส่วนแบ่งทางการตลาดร้อยละ 62 และจีนร้อยละ 25 ผู้น้าเข้าน้ำมันเพื่อการบริโภครายใหญ่ของอินเดียในปีนี เก็บเกี่ยวพืชผลเรพซีด ซึ่งเป็นที่รู้จักแพร่หลายใน ประเทศภายใต้ชื่อมัสตาร์ดมากเป็นประวัติการณ

ติดตามบทความอื่น ๆ : japach.com

Releated